การโจมตีประเภทใดที่การรักษาความปลอดภัยทางไซเบอร์พยายามจะป้องกัน
ผู้เชี่ยวชาญด้านการรักษาความปลอดภัยทางไซเบอร์มุ่งมั่นที่จะควบคุมและบรรเทาภัยคุกคามที่มีอยู่และภัยคุกคามใหม่ที่แทรกซึมระบบคอมพิวเตอร์ในหลายทาง ต่อไปนี้คือตัวอย่างบางส่วนของภัยคุกคามทางไซเบอร์ที่พบบ่อย
มัลแวร์
มัลแวร์ (Malware) มาจากคำว่า malicious software (ซอฟต์แวร์ที่ประสงค์ร้าย) ซึ่งประกอบด้วยโปรแกรมซอฟต์แวร์ต่างๆ ที่สร้างขึ้นมาเพื่อให้บุคคลที่สามสามารถเข้าถึงข้อมูลที่ละเอียดอ่อนโดยไม่ได้รับอนุญาต หรือเพื่อขัดขวางการทำงานตามปกติของโครงสร้างพื้นฐานที่สำคัญ ตัวอย่างทั่วไปของมัลแวร์รวมถึง โทรจัน สปายแวร์ และไวรัส
แรนซัมแวร์
แรนซัมแวร์ (Ransomware) หมายถึง โมเดลธุรกิจและเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องอย่างกว้าง ซึ่งคนร้ายใช้เพื่อเรียกค่าไถ่จากหน่วยงานต่างๆ ไม่ว่าคุณจะเพิ่งเริ่มต้น หรือสร้างระบบบน AWS แล้ว เรามีทรัพยากรที่จะช่วยคุณปกป้องระบบและข้อมูลที่สำคัญของคุณจากแรนซัมแวร์
การโจมตีแบบคนกลาง
การโจมตีแบบคนกลาง (Man in the Middle) คือการที่บุคคลภายนอกพยายามทำการเข้าถึงโดยไม่ได้รับอนุญาตผ่านเครือข่ายในระหว่างการแลกเปลี่ยนข้อมูล การโจมตีดังกล่าวจะเพิ่มความเสี่ยงด้านความปลอดภัยของข้อมูลที่ละเอียดอ่อน เช่น ข้อมูลทางการเงิน
ฟิชชิ่ง
ฟิชชิ่ง (Phishing) เป็นภัยคุกคามทางไซเบอร์ที่ใช้เทคนิควิศวกรรมสังคมเพื่อหลอกให้ผู้ใช้เปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลที่สามารถระบุตัวตนได้ ตัวอย่างเช่น ผู้โจมตีทางไซเบอร์ส่งอีเมลที่ทำให้ผู้ใช้คลิกและป้อนข้อมูลบัตรเครดิตบนหน้าเว็บชำระเงินปลอม การโจมตีแบบฟิชชิ่งยังทำให้มีการดาวน์โหลดเอกสารแนบที่เป็นอันตราย ซึ่งจะติดตั้งมัลแวร์ในอุปกรณ์ของบริษัท
DDoS
การโจมตีแบบปฏิเสธการให้บริการแบบกระจาย (DDoS) เป็นการนัดหมายกันสร้างภาระให้เซิร์ฟเวอร์โดยการส่งคำขอปลอมจำนวนมาก เหตุการณ์ดังกล่าวนี้ทำให้ผู้ใช้ทั่วไปไม่สามารถเชื่อมต่อหรือเข้าถึงเซิร์ฟเวอร์เป้าหมายได้
การคุกคามจากภายใน
การคุกคามจากภายใน คือความเสี่ยงด้านความปลอดภัยที่เกิดจากบุคลากรที่มีเจตนาร้ายภายในองค์กร บุคลากรมีสิทธิ์เข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ระดับสูงและอาจทำลายเสถียรภาพของระบบรักษาความปลอดภัยของโครงสร้างพื้นฐานจากภายใน
การรักษาความปลอดภัยทางไซเบอร์ทำงานอย่างไร?
องค์กรใช้กลยุทธ์การรักษาความปลอดภัยทางไซเบอร์โดยการมีส่วนร่วมดำเนินงานกับผู้เชี่ยวชาญด้านความปลอดภัยทางไซเบอร์ ผู้เชี่ยวชาญเหล่านี้จะประเมินความเสี่ยงด้านการรักษาความปลอดภัยของระบบคอมพิวเตอร์ ตลอดจนเครือข่าย พื้นที่เก็บข้อมูล แอปพลิเคชัน และอุปกรณ์ที่เชื่อมต่ออื่นๆ จากนั้นผู้เชี่ยวชาญด้านการรักษาความปลอดภัยทางไซเบอร์จะสร้างเฟรมเวิร์กด้านความปลอดภัยทางไซเบอร์ที่ครอบคลุม และใช้มาตรการป้องกันในองค์กร
โปรแกรมการรักษาความปลอดภัยทางไซเบอร์ที่ประสบความสำเร็จนั้นจะมีการให้ความรู้พนักงานเกี่ยวกับแนวปฏิบัติที่ดีที่สุดในการรักษาความปลอดภัย และการใช้เทคโนโลยีการป้องกันทางไซเบอร์อัตโนมัติสำหรับโครงสร้างพื้นฐานด้านไอทีที่มีอยู่ องค์ประกอบเหล่านี้ทำงานร่วมกันเพื่อสร้างการปกป้องแบบหลายชั้นต่อภัยคุกคามที่อาจเกิดขึ้น ณ จุดเข้าถึงข้อมูลทุกจุด ซึ่งจะช่วยระบุความเสี่ยง ปกป้องตัวตน โครงสร้างพื้นฐาน และข้อมูล ตรวจจับความผิดปกติและเหตุการณ์ต่างๆ ตอบสนองและวิเคราะห์สาเหตุราก และกู้คืนระบบหลังจากเกิดเหตุการณ์
การรักษาความปลอดภัยทางไซเบอร์มีประเภทใดบ้าง
องค์กรใช้กลยุทธ์การรักษาความปลอดภัยทางไซเบอร์โดยการมีส่วนร่วมดำเนินงานกับผู้เชี่ยวชาญด้านความปลอดภัยทางไซเบอร์ ผู้เชี่ยวชาญเหล่านี้จะประเมินความเสี่ยงด้านการรักษาความปลอดภัยของระบบคอมพิวเตอร์ ตลอดจนเครือข่าย พื้นที่เก็บข้อมูล แอปพลิเคชัน และอุปกรณ์ที่เชื่อมต่ออื่นๆ จากนั้นผู้เชี่ยวชาญด้านการรักษาความปลอดภัยทางไซเบอร์จะสร้างเฟรมเวิร์กด้านความปลอดภัยทางไซเบอร์ที่ครอบคลุม และใช้มาตรการป้องกันในองค์กร
โปรแกรมการรักษาความปลอดภัยทางไซเบอร์ที่ประสบความสำเร็จนั้นจะมีการให้ความรู้พนักงานเกี่ยวกับแนวปฏิบัติที่ดีที่สุดในการรักษาความปลอดภัย และการใช้เทคโนโลยีการป้องกันทางไซเบอร์อัตโนมัติสำหรับโครงสร้างพื้นฐานด้านไอทีที่มีอยู่ องค์ประกอบเหล่านี้ทำงานร่วมกันเพื่อสร้างการปกป้องแบบหลายชั้นต่อภัยคุกคามที่อาจเกิดขึ้น ณ จุดเข้าถึงข้อมูลทุกจุด ซึ่งจะช่วยระบุความเสี่ยง ปกป้องตัวตน โครงสร้างพื้นฐาน และข้อมูล ตรวจจับความผิดปกติและเหตุการณ์ต่างๆ ตอบสนองและวิเคราะห์สาเหตุราก และกู้คืนระบบหลังจากเกิดเหตุการณ์
cnt44bFdGDW3njlVT9HEUZFQ/s600/20240408_101226.jpg"/>
- รับลิงก์
- X
- อีเมล
- แอปอื่นๆ
ตอบลบการโจมตีประเภทใดที่การรักษาความปลอดภัยทางไซเบอร์พยายามจะป้องกัน
ผู้เชี่ยวชาญด้านการรักษาความปลอดภัยทางไซเบอร์มุ่งมั่นที่จะควบคุมและบรรเทาภัยคุกคามที่มีอยู่และภัยคุกคามใหม่ที่แทรกซึมระบบคอมพิวเตอร์ในหลายทาง ต่อไปนี้คือตัวอย่างบางส่วนของภัยคุกคามทางไซเบอร์ที่พบบ่อย
มัลแวร์
มัลแวร์ (Malware) มาจากคำว่า malicious software (ซอฟต์แวร์ที่ประสงค์ร้าย) ซึ่งประกอบด้วยโปรแกรมซอฟต์แวร์ต่างๆ ที่สร้างขึ้นมาเพื่อให้บุคคลที่สามสามารถเข้าถึงข้อมูลที่ละเอียดอ่อนโดยไม่ได้รับอนุญาต หรือเพื่อขัดขวางการทำงานตามปกติของโครงสร้างพื้นฐานที่สำคัญ ตัวอย่างทั่วไปของมัลแวร์รวมถึง โทรจัน สปายแวร์ และไวรัส
แรนซัมแวร์
แรนซัมแวร์ (Ransomware) หมายถึง โมเดลธุรกิจและเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องอย่างกว้าง ซึ่งคนร้ายใช้เพื่อเรียกค่าไถ่จากหน่วยงานต่างๆ ไม่ว่าคุณจะเพิ่งเริ่มต้น หรือสร้างระบบบน AWS แล้ว เรามีทรัพยากรที่จะช่วยคุณปกป้องระบบและข้อมูลที่สำคัญของคุณจากแรนซัมแวร์
การโจมตีแบบคนกลาง
การโจมตีแบบคนกลาง (Man in the Middle) คือการที่บุคคลภายนอกพยายามทำการเข้าถึงโดยไม่ได้รับอนุญาตผ่านเครือข่ายในระหว่างการแลกเปลี่ยนข้อมูล การโจมตีดังกล่าวจะเพิ่มความเสี่ยงด้านความปลอดภัยของข้อมูลที่ละเอียดอ่อน เช่น ข้อมูลทางการเงิน
ฟิชชิ่ง
ฟิชชิ่ง (Phishing) เป็นภัยคุกคามทางไซเบอร์ที่ใช้เทคนิควิศวกรรมสังคมเพื่อหลอกให้ผู้ใช้เปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลที่สามารถระบุตัวตนได้ ตัวอย่างเช่น ผู้โจมตีทางไซเบอร์ส่งอีเมลที่ทำให้ผู้ใช้คลิกและป้อนข้อมูลบัตรเครดิตบนหน้าเว็บชำระเงินปลอม การโจมตีแบบฟิชชิ่งยังทำให้มีการดาวน์โหลดเอกสารแนบที่เป็นอันตราย ซึ่งจะติดตั้งมัลแวร์ในอุปกรณ์ของบริษัท
DDoS
การโจมตีแบบปฏิเสธการให้บริการแบบกระจาย (DDoS) เป็นการนัดหมายกันสร้างภาระให้เซิร์ฟเวอร์โดยการส่งคำขอปลอมจำนวนมาก เหตุการณ์ดังกล่าวนี้ทำให้ผู้ใช้ทั่วไปไม่สามารถเชื่อมต่อหรือเข้าถึงเซิร์ฟเวอร์เป้าหมายได้
การคุกคามจากภายใน
การคุกคามจากภายใน คือความเสี่ยงด้านความปลอดภัยที่เกิดจากบุคลากรที่มีเจตนาร้ายภายในองค์กร บุคลากรมีสิทธิ์เข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ระดับสูงและอาจทำลายเสถียรภาพของระบบรักษาความปลอดภัยของโครงสร้างพื้นฐานจากภายใน
การรักษาความปลอดภัยทางไซเบอร์ทำงานอย่างไร?
องค์กรใช้กลยุทธ์การรักษาความปลอดภัยทางไซเบอร์โดยการมีส่วนร่วมดำเนินงานกับผู้เชี่ยวชาญด้านความปลอดภัยทางไซเบอร์ ผู้เชี่ยวชาญเหล่านี้จะประเมินความเสี่ยงด้านการรักษาความปลอดภัยของระบบคอมพิวเตอร์ ตลอดจนเครือข่าย พื้นที่เก็บข้อมูล แอปพลิเคชัน และอุปกรณ์ที่เชื่อมต่ออื่นๆ จากนั้นผู้เชี่ยวชาญด้านการรักษาความปลอดภัยทางไซเบอร์จะสร้างเฟรมเวิร์กด้านความปลอดภัยทางไซเบอร์ที่ครอบคลุม และใช้มาตรการป้องกันในองค์กร
โปรแกรมการรักษาความปลอดภัยทางไซเบอร์ที่ประสบความสำเร็จนั้นจะมีการให้ความรู้พนักงานเกี่ยวกับแนวปฏิบัติที่ดีที่สุดในการรักษาความปลอดภัย และการใช้เทคโนโลยีการป้องกันทางไซเบอร์อัตโนมัติสำหรับโครงสร้างพื้นฐานด้านไอทีที่มีอยู่ องค์ประกอบเหล่านี้ทำงานร่วมกันเพื่อสร้างการปกป้องแบบหลายชั้นต่อภัยคุกคามที่อาจเกิดขึ้น ณ จุดเข้าถึงข้อมูลทุกจุด ซึ่งจะช่วยระบุความเสี่ยง ปกป้องตัวตน โครงสร้างพื้นฐาน และข้อมูล ตรวจจับความผิดปกติและเหตุการณ์ต่างๆ ตอบสนองและวิเคราะห์สาเหตุราก และกู้คืนระบบหลังจากเกิดเหตุการณ์
การรักษาความปลอดภัยทางไซเบอร์มีประเภทใดบ้าง
องค์กรใช้กลยุทธ์การรักษาความปลอดภัยทางไซเบอร์โดยการมีส่วนร่วมดำเนินงานกับผู้เชี่ยวชาญด้านความปลอดภัยทางไซเบอร์ ผู้เชี่ยวชาญเหล่านี้จะประเมินความเสี่ยงด้านการรักษาความปลอดภัยของระบบคอมพิวเตอร์ ตลอดจนเครือข่าย พื้นที่เก็บข้อมูล แอปพลิเคชัน และอุปกรณ์ที่เชื่อมต่ออื่นๆ จากนั้นผู้เชี่ยวชาญด้านการรักษาความปลอดภัยทางไซเบอร์จะสร้างเฟรมเวิร์กด้านความปลอดภัยทางไซเบอร์ที่ครอบคลุม และใช้มาตรการป้องกันในองค์กร
โปรแกรมการรักษาความปลอดภัยทางไซเบอร์ที่ประสบความสำเร็จนั้นจะมีการให้ความรู้พนักงานเกี่ยวกับแนวปฏิบัติที่ดีที่สุดในการรักษาความปลอดภัย และการใช้เทคโนโลยีการป้องกันทางไซเบอร์อัตโนมัติสำหรับโครงสร้างพื้นฐานด้านไอทีที่มีอยู่ องค์ประกอบเหล่านี้ทำงานร่วมกันเพื่อสร้างการปกป้องแบบหลายชั้นต่อภัยคุกคามที่อาจเกิดขึ้น ณ จุดเข้าถึงข้อมูลทุกจุด ซึ่งจะช่วยระบุความเสี่ยง ปกป้องตัวตน โครงสร้างพื้นฐาน และข้อมูล ตรวจจับความผิดปกติและเหตุการณ์ต่างๆ ตอบสนองและวิเคราะห์สาเหตุราก และกู้คืนระบบหลังจากเกิดเหตุการณ์