สำนักงาน ที่ปรึกษาระบบคอมพิวเตอร์สากล วัดถ้ำลอดเจริญธรรม ( ITWTL )

สำนักงาน ที่ปรึกษาระบบคอมพิวเตอร์สากล วัดถ้ำลอดเจริญธรรม ( ITWTL ) ติดตั้งโปรแกรมป้องกันไวรัสและอัปเดตข้อมูลไวรัสอยู่เสมอ - ติดตั้งโปรแกรมป้องกันไวรัสที่เหมาะสม - สร้างแผ่น Emergency Disk เพื่อใช้ในการกู้ระบบ - อัปเดตข้อมูลไวรัสของโปรแกรมทุกวัน หรือ ทุกครั้งที่โปรแกรมแจ้งเตือนให้อัปเดต - เปิดใช้งาน auto-protect ถ้าโปรแกรมสนับสนุนX - ตรวจสอบหาไวรัสทุกครั้งก่อนเปิดไฟล์จากแผ่นหรือสื่อบันทึกข้อมูลต่าง ๆ - ใช้โปรแกรมเพื่อทำการตรวจหาไวรัสบนเครื่องคอมพิวเตอร์อย่างน้อย 1 ครั้ง ต่อสัปดาห์ ติดตั้งโปรแกรมอุดช่องโหว่(patch) โดยการอัปเดตซอฟต์แวร์และโปรแกรมประยุกต์ต่าง ๆ ให้ใหม่อยู่เสมอ - ระบบปฏิบัติการ(OS) Windows , ระบบปฏิบัติการโปรแกรม Internet Explorer (IE) และโปรแกรม Microsoft Office เป็นต้น ปรับแต่งให้ซอฟต์แวร์ที่ใช้งานปลอดภัยสูงที่สุด - ปรับแต่งไม่ให้โปรแกรมที่ใช้อ่าน E-mail รันไฟล์แนบ(Attachment) โดยอัตโนมัติ - ถ้าใช้ Microsoft Office ไม่ควรอนุญาตให้รันมาโคร (macro) - ตั้งค่าระบบปฏิบัติการให้แสดงไฟล์ที่มีอยู่ทั้งหมด และแสดงนามสกุลของไฟล์ด้วยโดย ปรับ ค่าการทำงานที่ Folder Options ใน Tools ของ Windows Explorer ระวังภัยจากการเปิดไฟล์จากสื่อบันทึกข้อมูล(Media) ต่าง ๆ - เช่น แผ่นฟล็อปปี้ดิสก์ แผ่นซีดี แผ่นดีวีดี เทปแบ็กอัป เป็นต้น - สแกนหาไวรัสจากสื่อบันทึกข้อมูล ก่อนใช้งานทุกครั้ง - ไม่ควรเปิดไฟล์ที่มีนามสกุลแปลก ๆ ที่น่าสงสัย เช่น .pifเป็นต้น รวมทั้งไฟล์ที่มีนามสกุลซ้อนกัน เช่น .jpg,.exe ,.gif.scr , txt.exe เป็นต้น ให้ลบไฟล์นั้นทิ้งทันที - ไม่ใช้สื่อบันทึกข้อมูล ที่ไม่ทราบแหล่งที่มา ใช้ความระมัดระวังในการเปิดอ่าน E-mail - อย่าเปิดไฟล์ที่แนบมากับ E-mail จนกว่าจะรู้ที่มา - อย่าเปิดอ่าน E-mail ที่มี Subject ที่เป็นข้อความจูงใจ - ลบ E-mail ที่ไม่ทราบแหล่งที่มาทิ้งทันที เพื่อตัดปัญหาทั้งปวง ตระหนักถึงความเสี่ยงของไฟล์ที่ดาวน์โหลด หรือได้รับจากทางอินเตอร์เน็ต - ไม่ควรเปิดไฟล์ที่แนบมากับโปรแกรมที่ใช้สนทนา เช่น ICQ , MSN เป็นต้น หรือการแลกเปลี่ยนไฟล์ โดยเฉพาะไฟล์ที่สามารถรันได้ เช่น ไฟล์ที่มีนามสกุล .exe , .pif , .com , .bat , .vbs เป็นต้นโดยไม่ได้ตรวจสอบแหล่งที่มาก่อน - ไม่ควรเข้าเว็บไซต์ที่มากับ E-mail หรือโปรแกรมสนทนาต่าง ๆรวมทั้งโฆษณาชวนเชื่อ หรือหน้าเว็บที่ปรากฏขึ้นมาโดยไม่ตั้งใจ - ไม่ดาวน์โหลดไฟล์ต่าง ๆ จากเว็บไซต์ที่ไม่มั่นใจ หรือไม่น่าเชื่อถือ - ติดตามข่าวสารข้อมุลการแจ้งเตือนไวรัสจากแหล่งข้อมูลด้านความปลอดภัยอยู่เสมอ
หลีกเลี่ยงการแชร์ไฟล์โดยไม่จำเป็น ถ้าต้องการแชร์ไฟล์ ควรแชร์แบบอ่านอย่างเดียว และตั้งรหัสผ่านด้วย

ความคิดเห็น

  1. การรักษาความปลอดภัยทางไซเบอร์คืออะไร
    การรักษาความปลอดภัยทางไซเบอร์ คือแนวปฏิบัติในการปกป้องคอมพิวเตอร์ เครือข่าย ซอฟต์แวร์แอปพลิเคชัน ระบบที่สำคัญ และข้อมูล จากภัยคุกคามทางดิจิทัลที่อาจเกิดขึ้นได้ องค์กรมีหน้าที่รับผิดชอบในการรักษาความปลอดภัยข้อมูล เพื่อรักษาความไว้วางใจของลูกค้าและเป็นไปตามกฎระเบียบ พวกเขาใช้มาตรการและเครื่องมือรักษาความปลอดภัยทางไซเบอร์เพื่อปกป้องข้อมูลที่ละเอียดอ่อนไม่ให้ถูกเข้าถึงโดยไม่ได้รับอนุญาต ตลอดจนป้องกันการหยุดชะงักของการดำเนินธุรกิจที่เป็นผลจากกิจกรรมในเครือข่ายที่ไม่พึงประสงค์ องค์กรต่างๆ ปรับใช้การรักษาความปลอดภัยทางไซเบอร์ โดยการปรับปรุงการป้องกันทางดิจิทัลระหว่างบุคคล กระบวนการ และเทคโนโลยีต่างๆ

    การรักษาความปลอดภัยทางไซเบอร์มีความสำคัญอย่างไร
    ธุรกิจในภาคส่วนต่างๆ เช่น พลังงาน การขนส่ง การค้าปลีก และการผลิต ล้วนใช้ระบบดิจิทัลและการเชื่อมต่อความเร็วสูงเพื่อจะให้บริการลูกค้าอย่างมีประสิทธิภาพ และให้การดำเนินธุรกิจที่คุ้มค่า เช่นเดียวกับการรักษาความปลอดภัยทรัพย์สินทางกายภาพ ธุรกิจต่างๆ ก็ต้องรักษาความปลอดภัยทรัพย์สินดิจิทัลและปกป้องระบบของตนไม่ให้มีการเข้าถึงโดยไม่ได้ตั้งใจ เหตุการณ์โดยเจตนาที่มีการละเมิดและเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ เครือข่าย หรือสิ่งอำนวยความสะดวกที่เชื่อมต่อโดยไม่ได้รับอนุญาตนั้นเรียกว่าการโจมตีทางไซเบอร์ การโจมตีทางไซเบอร์ที่ประสบความสำเร็จจะส่งผลให้เกิดการสัมผัสความเสี่ยง การโจรกรรม การลบข้อมูล หรือการเปลี่ยนแปลงข้อมูลที่เป็นความลับ มาตรการการรักษาความปลอดภัยทางไซเบอร์จะป้องกันการโจมตีทางไซเบอร์และให้ประโยชน์ดังต่อไปนี้



    ป้องกันหรือลดต้นทุนของการละเมิด
    องค์กรที่นำกลยุทธ์ความปลอดภัยทางไซเบอร์มาใช้ จะลดผลกระทบที่ไม่พึงประสงค์จากการโจมตีทางไซเบอร์ที่อาจส่งผลกระทบต่อชื่อเสียงทางธุรกิจ ฐานะทางการเงิน การดำเนินธุรกิจ และความไว้วางใจของลูกค้า ตัวอย่างเช่น บริษัทต่างๆ ใช้แผนการกู้คืนจากความเสียหาย เพื่อจำกัดผลของการบุกรุกที่เป็นไปได้ และลดการหยุดชะงักของการดำเนินธุรกิจ



    รักษาการปฏิบัติตามกฎระเบียบ
    ธุรกิจในอุตสาหกรรมและภูมิภาคเฉพาะใดๆ จะต้องปฏิบัติตามข้อกำหนดในการคุ้มครองข้อมูลที่ละเอียดอ่อนจากความเสี่ยงทางไซเบอร์ที่อาจเกิดขึ้นได้ ตัวอย่างเช่น บริษัทที่ดำเนินการในยุโรปจะต้องปฏิบัติตามกฎระเบียบการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลของผู้บริโภค (GDPR) ซึ่งคาดหวังให้องค์กรใช้มาตรการการรักษาความปลอดภัยทางไซเบอร์ที่เหมาะสม เพื่อรับประกันความเป็นส่วนตัวของข้อมูล



    บรรเทาภัยคุกคามทางไซเบอร์ที่มีการพัฒนาไป
    การโจมตีทางไซเบอร์นั้นมีการพัฒนาไปพร้อมกับการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี เหล่าอาชญากรจะใช้เครื่องมือใหม่ๆ และคิดค้นกลยุทธ์ใหม่ๆ เพื่อเข้าถึงระบบโดยไม่ได้รับอนุญาต องค์กรต่างๆ ใช้และอัปเกรดมาตรการการรักษาความปลอดภัยทางไซเบอร์เพื่อให้ก้าวทันเทคโนโลยีและเครื่องมือการโจมตีทางดิจิทัลใหม่ๆ และที่มีการพัฒนาไปเหล่านี้

    ตอบลบ
  2. การรักษาความปลอดภัยทางไซเบอร์คืออะไร
    การรักษาความปลอดภัยทางไซเบอร์ คือแนวปฏิบัติในการปกป้องคอมพิวเตอร์ เครือข่าย ซอฟต์แวร์แอปพลิเคชัน ระบบที่สำคัญ และข้อมูล จากภัยคุกคามทางดิจิทัลที่อาจเกิดขึ้นได้ องค์กรมีหน้าที่รับผิดชอบในการรักษาความปลอดภัยข้อมูล เพื่อรักษาความไว้วางใจของลูกค้าและเป็นไปตามกฎระเบียบ พวกเขาใช้มาตรการและเครื่องมือรักษาความปลอดภัยทางไซเบอร์เพื่อปกป้องข้อมูลที่ละเอียดอ่อนไม่ให้ถูกเข้าถึงโดยไม่ได้รับอนุญาต ตลอดจนป้องกันการหยุดชะงักของการดำเนินธุรกิจที่เป็นผลจากกิจกรรมในเครือข่ายที่ไม่พึงประสงค์ องค์กรต่างๆ ปรับใช้การรักษาความปลอดภัยทางไซเบอร์ โดยการปรับปรุงการป้องกันทางดิจิทัลระหว่างบุคคล กระบวนการ และเทคโนโลยีต่างๆ

    การรักษาความปลอดภัยทางไซเบอร์มีความสำคัญอย่างไร
    ธุรกิจในภาคส่วนต่างๆ เช่น พลังงาน การขนส่ง การค้าปลีก และการผลิต ล้วนใช้ระบบดิจิทัลและการเชื่อมต่อความเร็วสูงเพื่อจะให้บริการลูกค้าอย่างมีประสิทธิภาพ และให้การดำเนินธุรกิจที่คุ้มค่า เช่นเดียวกับการรักษาความปลอดภัยทรัพย์สินทางกายภาพ ธุรกิจต่างๆ ก็ต้องรักษาความปลอดภัยทรัพย์สินดิจิทัลและปกป้องระบบของตนไม่ให้มีการเข้าถึงโดยไม่ได้ตั้งใจ เหตุการณ์โดยเจตนาที่มีการละเมิดและเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ เครือข่าย หรือสิ่งอำนวยความสะดวกที่เชื่อมต่อโดยไม่ได้รับอนุญาตนั้นเรียกว่าการโจมตีทางไซเบอร์ การโจมตีทางไซเบอร์ที่ประสบความสำเร็จจะส่งผลให้เกิดการสัมผัสความเสี่ยง การโจรกรรม การลบข้อมูล หรือการเปลี่ยนแปลงข้อมูลที่เป็นความลับ มาตรการการรักษาความปลอดภัยทางไซเบอร์จะป้องกันการโจมตีทางไซเบอร์และให้ประโยชน์ดังต่อไปนี้



    ป้องกันหรือลดต้นทุนของการละเมิด
    องค์กรที่นำกลยุทธ์ความปลอดภัยทางไซเบอร์มาใช้ จะลดผลกระทบที่ไม่พึงประสงค์จากการโจมตีทางไซเบอร์ที่อาจส่งผลกระทบต่อชื่อเสียงทางธุรกิจ ฐานะทางการเงิน การดำเนินธุรกิจ และความไว้วางใจของลูกค้า ตัวอย่างเช่น บริษัทต่างๆ ใช้แผนการกู้คืนจากความเสียหาย เพื่อจำกัดผลของการบุกรุกที่เป็นไปได้ และลดการหยุดชะงักของการดำเนินธุรกิจ



    รักษาการปฏิบัติตามกฎระเบียบ
    ธุรกิจในอุตสาหกรรมและภูมิภาคเฉพาะใดๆ จะต้องปฏิบัติตามข้อกำหนดในการคุ้มครองข้อมูลที่ละเอียดอ่อนจากความเสี่ยงทางไซเบอร์ที่อาจเกิดขึ้นได้ ตัวอย่างเช่น บริษัทที่ดำเนินการในยุโรปจะต้องปฏิบัติตามกฎระเบียบการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลของผู้บริโภค (GDPR) ซึ่งคาดหวังให้องค์กรใช้มาตรการการรักษาความปลอดภัยทางไซเบอร์ที่เหมาะสม เพื่อรับประกันความเป็นส่วนตัวของข้อมูล



    บรรเทาภัยคุกคามทางไซเบอร์ที่มีการพัฒนาไป
    การโจมตีทางไซเบอร์นั้นมีการพัฒนาไปพร้อมกับการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี เหล่าอาชญากรจะใช้เครื่องมือใหม่ๆ และคิดค้นกลยุทธ์ใหม่ๆ เพื่อเข้าถึงระบบโดยไม่ได้รับอนุญาต องค์กรต่างๆ ใช้และอัปเกรดมาตรการการรักษาความปลอดภัยทางไซเบอร์เพื่อให้ก้าวทันเทคโนโลยีและเครื่องมือการโจมตีทางดิจิทัลใหม่ๆ และที่มีการพัฒนาไปเหล่านี้

    ตอบลบ
  3. การรักษาความปลอดภัยทางไซเบอร์คืออะไร
    การรักษาความปลอดภัยทางไซเบอร์ คือแนวปฏิบัติในการปกป้องคอมพิวเตอร์ เครือข่าย ซอฟต์แวร์แอปพลิเคชัน ระบบที่สำคัญ และข้อมูล จากภัยคุกคามทางดิจิทัลที่อาจเกิดขึ้นได้ องค์กรมีหน้าที่รับผิดชอบในการรักษาความปลอดภัยข้อมูล เพื่อรักษาความไว้วางใจของลูกค้าและเป็นไปตามกฎระเบียบ พวกเขาใช้มาตรการและเครื่องมือรักษาความปลอดภัยทางไซเบอร์เพื่อปกป้องข้อมูลที่ละเอียดอ่อนไม่ให้ถูกเข้าถึงโดยไม่ได้รับอนุญาต ตลอดจนป้องกันการหยุดชะงักของการดำเนินธุรกิจที่เป็นผลจากกิจกรรมในเครือข่ายที่ไม่พึงประสงค์ องค์กรต่างๆ ปรับใช้การรักษาความปลอดภัยทางไซเบอร์ โดยการปรับปรุงการป้องกันทางดิจิทัลระหว่างบุคคล กระบวนการ และเทคโนโลยีต่างๆ

    การรักษาความปลอดภัยทางไซเบอร์มีความสำคัญอย่างไร
    ธุรกิจในภาคส่วนต่างๆ เช่น พลังงาน การขนส่ง การค้าปลีก และการผลิต ล้วนใช้ระบบดิจิทัลและการเชื่อมต่อความเร็วสูงเพื่อจะให้บริการลูกค้าอย่างมีประสิทธิภาพ และให้การดำเนินธุรกิจที่คุ้มค่า เช่นเดียวกับการรักษาความปลอดภัยทรัพย์สินทางกายภาพ ธุรกิจต่างๆ ก็ต้องรักษาความปลอดภัยทรัพย์สินดิจิทัลและปกป้องระบบของตนไม่ให้มีการเข้าถึงโดยไม่ได้ตั้งใจ เหตุการณ์โดยเจตนาที่มีการละเมิดและเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ เครือข่าย หรือสิ่งอำนวยความสะดวกที่เชื่อมต่อโดยไม่ได้รับอนุญาตนั้นเรียกว่าการโจมตีทางไซเบอร์ การโจมตีทางไซเบอร์ที่ประสบความสำเร็จจะส่งผลให้เกิดการสัมผัสความเสี่ยง การโจรกรรม การลบข้อมูล หรือการเปลี่ยนแปลงข้อมูลที่เป็นความลับ มาตรการการรักษาความปลอดภัยทางไซเบอร์จะป้องกันการโจมตีทางไซเบอร์และให้ประโยชน์ดังต่อไปนี้



    ป้องกันหรือลดต้นทุนของการละเมิด
    องค์กรที่นำกลยุทธ์ความปลอดภัยทางไซเบอร์มาใช้ จะลดผลกระทบที่ไม่พึงประสงค์จากการโจมตีทางไซเบอร์ที่อาจส่งผลกระทบต่อชื่อเสียงทางธุรกิจ ฐานะทางการเงิน การดำเนินธุรกิจ และความไว้วางใจของลูกค้า ตัวอย่างเช่น บริษัทต่างๆ ใช้แผนการกู้คืนจากความเสียหาย เพื่อจำกัดผลของการบุกรุกที่เป็นไปได้ และลดการหยุดชะงักของการดำเนินธุรกิจ



    รักษาการปฏิบัติตามกฎระเบียบ
    ธุรกิจในอุตสาหกรรมและภูมิภาคเฉพาะใดๆ จะต้องปฏิบัติตามข้อกำหนดในการคุ้มครองข้อมูลที่ละเอียดอ่อนจากความเสี่ยงทางไซเบอร์ที่อาจเกิดขึ้นได้ ตัวอย่างเช่น บริษัทที่ดำเนินการในยุโรปจะต้องปฏิบัติตามกฎระเบียบการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลของผู้บริโภค (GDPR) ซึ่งคาดหวังให้องค์กรใช้มาตรการการรักษาความปลอดภัยทางไซเบอร์ที่เหมาะสม เพื่อรับประกันความเป็นส่วนตัวของข้อมูล



    บรรเทาภัยคุกคามทางไซเบอร์ที่มีการพัฒนาไป
    การโจมตีทางไซเบอร์นั้นมีการพัฒนาไปพร้อมกับการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี เหล่าอาชญากรจะใช้เครื่องมือใหม่ๆ และคิดค้นกลยุทธ์ใหม่ๆ เพื่อเข้าถึงระบบโดยไม่ได้รับอนุญาต องค์กรต่างๆ ใช้และอัปเกรดมาตรการการรักษาความปลอดภัยทางไซเบอร์เพื่อให้ก้าวทันเทคโนโลยีและเครื่องมือการโจมตีทางดิจิทัลใหม่ๆ และที่มีการพัฒนาไปเหล่านี้

    ตอบลบ
  4. การรักษาความปลอดภัยทางไซเบอร์คืออะไร
    การรักษาความปลอดภัยทางไซเบอร์ คือแนวปฏิบัติในการปกป้องคอมพิวเตอร์ เครือข่าย ซอฟต์แวร์แอปพลิเคชัน ระบบที่สำคัญ และข้อมูล จากภัยคุกคามทางดิจิทัลที่อาจเกิดขึ้นได้ องค์กรมีหน้าที่รับผิดชอบในการรักษาความปลอดภัยข้อมูล เพื่อรักษาความไว้วางใจของลูกค้าและเป็นไปตามกฎระเบียบ พวกเขาใช้มาตรการและเครื่องมือรักษาความปลอดภัยทางไซเบอร์เพื่อปกป้องข้อมูลที่ละเอียดอ่อนไม่ให้ถูกเข้าถึงโดยไม่ได้รับอนุญาต ตลอดจนป้องกันการหยุดชะงักของการดำเนินธุรกิจที่เป็นผลจากกิจกรรมในเครือข่ายที่ไม่พึงประสงค์ องค์กรต่างๆ ปรับใช้การรักษาความปลอดภัยทางไซเบอร์ โดยการปรับปรุงการป้องกันทางดิจิทัลระหว่างบุคคล กระบวนการ และเทคโนโลยีต่างๆ

    การรักษาความปลอดภัยทางไซเบอร์มีความสำคัญอย่างไร
    ธุรกิจในภาคส่วนต่างๆ เช่น พลังงาน การขนส่ง การค้าปลีก และการผลิต ล้วนใช้ระบบดิจิทัลและการเชื่อมต่อความเร็วสูงเพื่อจะให้บริการลูกค้าอย่างมีประสิทธิภาพ และให้การดำเนินธุรกิจที่คุ้มค่า เช่นเดียวกับการรักษาความปลอดภัยทรัพย์สินทางกายภาพ ธุรกิจต่างๆ ก็ต้องรักษาความปลอดภัยทรัพย์สินดิจิทัลและปกป้องระบบของตนไม่ให้มีการเข้าถึงโดยไม่ได้ตั้งใจ เหตุการณ์โดยเจตนาที่มีการละเมิดและเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ เครือข่าย หรือสิ่งอำนวยความสะดวกที่เชื่อมต่อโดยไม่ได้รับอนุญาตนั้นเรียกว่าการโจมตีทางไซเบอร์ การโจมตีทางไซเบอร์ที่ประสบความสำเร็จจะส่งผลให้เกิดการสัมผัสความเสี่ยง การโจรกรรม การลบข้อมูล หรือการเปลี่ยนแปลงข้อมูลที่เป็นความลับ มาตรการการรักษาความปลอดภัยทางไซเบอร์จะป้องกันการโจมตีทางไซเบอร์และให้ประโยชน์ดังต่อไปนี้



    ป้องกันหรือลดต้นทุนของการละเมิด
    องค์กรที่นำกลยุทธ์ความปลอดภัยทางไซเบอร์มาใช้ จะลดผลกระทบที่ไม่พึงประสงค์จากการโจมตีทางไซเบอร์ที่อาจส่งผลกระทบต่อชื่อเสียงทางธุรกิจ ฐานะทางการเงิน การดำเนินธุรกิจ และความไว้วางใจของลูกค้า ตัวอย่างเช่น บริษัทต่างๆ ใช้แผนการกู้คืนจากความเสียหาย เพื่อจำกัดผลของการบุกรุกที่เป็นไปได้ และลดการหยุดชะงักของการดำเนินธุรกิจ



    รักษาการปฏิบัติตามกฎระเบียบ
    ธุรกิจในอุตสาหกรรมและภูมิภาคเฉพาะใดๆ จะต้องปฏิบัติตามข้อกำหนดในการคุ้มครองข้อมูลที่ละเอียดอ่อนจากความเสี่ยงทางไซเบอร์ที่อาจเกิดขึ้นได้ ตัวอย่างเช่น บริษัทที่ดำเนินการในยุโรปจะต้องปฏิบัติตามกฎระเบียบการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลของผู้บริโภค (GDPR) ซึ่งคาดหวังให้องค์กรใช้มาตรการการรักษาความปลอดภัยทางไซเบอร์ที่เหมาะสม เพื่อรับประกันความเป็นส่วนตัวของข้อมูล



    บรรเทาภัยคุกคามทางไซเบอร์ที่มีการพัฒนาไป
    การโจมตีทางไซเบอร์นั้นมีการพัฒนาไปพร้อมกับการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี เหล่าอาชญากรจะใช้เครื่องมือใหม่ๆ และคิดค้นกลยุทธ์ใหม่ๆ เพื่อเข้าถึงระบบโดยไม่ได้รับอนุญาต องค์กรต่างๆ ใช้และอัปเกรดมาตรการการรักษาความปลอดภัยทางไซเบอร์เพื่อให้ก้าวทันเทคโนโลยีและเครื่องมือการโจมตีทางดิจิทัลใหม่ๆ และที่มีการพัฒนาไปเหล่านี้

    ตอบลบ

แสดงความคิดเห็น